ประเภทของการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 "การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ" การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จำเป็นต้องทำการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาทางการศึกษาทั้งในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่นำมาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นำมาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้นวัตกรรมในด้านต่างๆ ในที่นี้จะขอกล่าวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คือ
1. นวัตกรรมการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
|
เป็นนวัตกรรมที่มีขอบเขต
เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกด้าน ตั้งแต่หลักสูตร การเรียนการสอน
สื่อและเทคโนโลยี ทางการศึกษา การวัดและประเมินผล และการบริหาร ทัศนา แขมมณี (2526
: 13) และวาทิต ระถี (2531) ได้แบ่งประเภทนวัตกรรมการศึกษาออกเป็น
5 ด้าน คือ
|
1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
แนวคิดการสอนแบบ ไฮสโคป
หลักการ
โปรแกรมไฮสโคปเน้นการเรียนรู้แบบลงมือกระทำผ่านมุมเล่นที่หลากหลาย ด้วยสื่อและ กิจกรรมที่เหมาะ สมกับพัฒนาการของเด็ก และการแก้ปัญหาอย่างกระตือรือร้น
ทฤษฎีที่มีอิทธิพล
ในระยะเริ่มต้น การพัฒนาโปรแกรมไฮสโคปใช้ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Theory) ของเปียเจต์ (Piaget) เป็นพื้นฐานโดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียนซึ่งเน้น การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) ระยะต่อมามีการผสมผสานทฤษฎี และแนวคิดอื่นๆ เช่น ทฤษฎีของอีริกสัน (Erikson) ในเรื่องการให้โอกาสเด็กเป็นผู้ริเริ่มการเล่นหรือกิจกรรมต่างๆ อย่างอิสระและทฤษฎีของ ไวก๊อตสกี้ (Vygotsky) ในเรื่อง ปฏิสัมพันธ์และการใช้ภาษา เป็นต้น
การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning)
หลักการที่สําคัญของไฮสโคปในระดับปฐมวัย คือ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา ซึ่งถือว่าเป็น พื้นฐานสําคัญ ในการพัฒนาเด็ก การเรียนรู้แบบลงมือกระทําจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพมาก ที่สุดในโปรแกรมที่พัฒนาเด็กอย่าง เหมาะสมกับพัฒนาการ การเรียนรู้แบบลง มือกระทํา หมายถึง การเรียนรู้ซึ่งเด็กได้จัดกระทํากับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ ์กับบุคคล ความคิดและเหตุการณ์ จนกระทั่ง สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง (Hohmann and Weikart,1995) ทั้งนี้ องค์ประกอบของ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา ได้แก่
1. การเลือกและตัดสินใจ เด็กจะเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจากความสนใจและความตั้งใจของตนเอง เด็กเป็นผู้เลือกวัสดุอุปกรณ ์และตัดสินใจว่า จะใช้วัสดุอุปกรณ์นั้นอย่างไร การที่เด็กมีโอกาสเลือกและตัดสินใจทํา ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตน เองมากกว่าได้รับการถ่ายทอดความรู้จากผู้ใหญ่ ดังนั้นผู้ใหญ่ที่ ตระหนักถึงความสำคัญเรื่อง การเลือก และการตัดสินใจต้องจัดให้เด็กมีอิสระที่จะเลือกได้ตลอด ทั้งวันขณะที่ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันไม่ใช่่เฉพาะ ในช่วงเวลาเล่นเสรีเท่านั้น
2. สื่อ ในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระทำจะมีเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่ หลากหลาย เพียงพอ และเหมาะสมกับระดับอายุของเด็ก เด็กต้องมีโอกาสและมีเวลา เพียงพอ ที่จะเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างอิสระ เมื่อเด็กใช้เครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เด็กจะมีโอกาส เชื่อมโยงการ กระทำต่าง ๆ การเรียนรู้ในเรื่องของความสัมพันธ์ และมีโอกาส ในการแก้ปัญหา มากขึ้นด้วย
3. การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 การให้เด็กได้สำรวจ และจัดกระทำกับวัตถุโดยตรงทำให้เด็กรู้จักวัตถุ หลังจากที่เด็กคุ้นเคยกับวัตถุ แล้วเด็กจะนำวัตถ
ุต่าง ๆ มาเกี่ยวข้องกันและเรียนร ู้เรื่องความสัมพันธ์ ผู้ใหญ่มีหน้าที่จัดให้เด็กค้นพบความสัมพันธ ์เหล่านี้ด้วยตนเอง
4. ภาษาจากเด็ก สิ่งที่เด็กพูดจะสะท้อนประสบการณ์และความเข้าใจของเด็ก ในห้อง เรียนที่เด็กเรียนรู้ แบบลงมือกระทําเด็กมักจะเล่าว่าตน กําลังทําอะไร หรือทําอะไรไปแล้วใน แต่ละวัน เมื่อเด็กมีอิสระในการใช้ภาษา เพื่อสื่อความคิดและรู้จักฟังความคิด เห็นของผู้อื่น เด็กจะเรียนรู้วิธีการพูด ที่เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น ได้พัฒนาการ คิดควบคู่ ไปกับการพัฒนา ความเชื่อมั่นในตนเองด้วย
5. การสนับสนุนจากผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ในห้องเรียนการเรียนรู้แบบลงมือกระทําต้องสร้างความสัมพันธ์กับเด็ก สังเกตและค้นหา ความตั้งใจ ความสนใจของเด็ก ผู้ใหญ่ควรรับฟังเด็ก ส่งเสริมให้เด็กคิดและ ทําสิ่งต่าง ๆ ด้วยตน เอง ในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบ ลงมือกระทํา เด็กจะเผชิญกับประสบการณ์สําคัญ ซํ้าแล้วซํ้า อีกในชีวิตประจําวันอย่าง เป็นธรรมชาติ ประสบการณ์สําคัญเป็นกุญแจที่จําเป็นในการสร้าง องค์ความรู้ของ เด็กเป็นเสมือนกรอบความคิด ที่จะทําความเข้าใจการเรียนรู้แบบลงมือ กระทํา เราสามารถให้คําจํากัดความได้ว่า ประสบการณ์สําคัญเป็นส่วนหนึ่งของ ความรู้ที่เด็กจะต้องหามา ให้ได้โดยการปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ คน แนวคิดและเหตุการณ์ สำคัญต่างๆ อย่างหลากหลาย ประสบ การณ์สำคัญเป็นกรอบ ความคิดให้กับผู้ใหญ่ในการเข้าใจการเรียนรู้ของเด็ก สามารถวางแผน การจัดประสบ การณ์เพื่อส่งเสริมและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างเหมาะสม
ดร.เดวิด ไวคาร์ท (Dr.David Weikart) ประธานมูลนิธิวิจัยการศึกษาไฮสโคป (High/Scope Educational Research Foundation) เป็นผู้ริเริ่มและร่วมกับคณะนักวิชาการและนักวิจัย อาทิ แมรี่ โฮแมน (Mary Hohmann) และ ดร.แลรี่ ชไวฮาร์ต (Dr.Larry Schweinhart) พัฒนาขึ้นจาก โครงการเพอรี่ พรี สคูล (Perry Preschool Project) ตั้งแต่พ.ศ.2505 ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการ Head Start เพื่อช่วยเหลือ เด็กด้อยโอกาสให้มีการศึกษาที่เหมาะสม และประสบความสําเร็จ ในชีวิต
มูลนิธิวิจัยการศึกษาไฮสโคปได้ศึกษาเปรียบเทียบเด็ก 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ ได้รับการสอน จากครูโดยตรง (Direct Instruction) กลุ่มเนอร์สเซอรี่แบบดั้งเดิม (Traditional Nursery) และกลุ่มที่ได้รับ ประสบการณ์โปรแกรมไฮสโคป จากการศึกษาติดตามเด็กเหล่านี้ ตั้งแต่ ระดับปฐมวัยจนถึงอายุ 29 ปี พบว่ากลุ่มที่เรียนด้วยโปรแกรมไฮสโคปมีปัญหาพฤติกรรม ทางสังคม-อารมณ์ เช่น การถูกจับข้อหาลักขโมย ทำร้ายผู้อื่น บกพร่องทางอารมณ์ และล้มเหลว ในชีวิตน้อยกว่าอีก 2 กลุ่ม ดังนั้น โปรแกรมนี้จึงพิสูจน์ได้ว่าช่วย ป้องกันอาชญากรรรม เพิ่มพูน ความสำเร็จทางการศึกษาและผลผลิตตลอดชีวิต (Weikart and others, 1978 และ Schweinhart, 1988 และ 1997)
นอกจากนี้ มูลนิธิฯ ได้พัฒนาระบบการฝึกอบรมบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ เรียนรู้ได้ง่าย เผยแพร่ในประเทศสหรัฐ อเมริกาและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา ครูจำนวนมากกว่า 33,000 คน ได้รับ การฝึกอบรมในเรื่องไฮสโคป และจากการสำรวจสมาชิก มากกว่า 200,000 คน ของสมาคมการศึกษาปฐมวัยแห่งชาติ (NAEYC) พบว่า ร้อยละ 28 ของสมาชิกได้รับการฝึกอบรมในเรื่องไฮสโคป และร้อยละ 44 ใช้โปรแกรมไฮสโคปในบาง
บริบทด้วย (Schweinhart, 1997)
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจำเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎี และปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดังต่อไปนี้
1. หลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมอย่างมีจริยธรรม
2. หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านต่างๆ
3. หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ (Activity or Experience Curriculum) เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรียนรู้จากการสืบค้นด้วยตนเอง เป็นต้น
4. หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการการมีออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใช้วิธีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง
และ
- การจัดหลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ (Function Literacy)
- การจัดหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ ตามลำดับขั้นจนบรรลุเป้าหมาย (Mastery Learning Curriculum)
- หลักสูตรแบบเอกัตภาพ (Individualized Curriculum)
ความหมายการสอนภาษาแบบองค์รวม (Whole Language Approach) หมายถึง การสอนภาษาที่เป็นไปตามธรรมชาติ เน้นสื่อที่มีความหมาย ผู้เรียนสามารถใช้ประสบการณ์เดิมช่วยทำให้เข้าใจสื่อที่อ่านได้รวดเร็วขึ้น การสอนจะไม่แยกสอนส่วนย่อยของภาษาทีละส่วนแต่เน้นให้เข้าใจในภาพรวมก่อน แล้วจึงเรียนรู้ด้านโครงสร้างภาษาภายหลัง ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ภาษาของตนเองอย่างอิสระ ผู้สอนต้องยอมรับความแตกต่างด้านการออกเสียงที่เป็นสำเนียงภาษาถิ่น(dialects) ในเบื้องต้น แล้วจึงพัฒนาให้ถูกต้องในโอกาสต่อไป การสอนภาษาแบบองค์รวมจะเน้นการนำรวมวรรณกรรมต่าง ๆ ที่ดีมาเป็นสื่อการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ภาษาที่หลากหลาย สามารถนำไปเป็นแบบอย่างการใช้ภาษาของตนเองและใช้ได้ในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนภาษาแบบองค์รวมจึงเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและยึดหลักการประชาธิปไตยในชั้นเรียน
ลักษณะสำคัญของการสอนแบบองค์รวม
- เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจําตัวหนังสือผ่านสนทนาโต้ตอบ
-การคาดคะเนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกด เป็นสิ่งที่ยอมรับได้
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ให้เด็กเป็นผู้เลือกอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนําสอนการอ่านในกลุ่มใหญ่มักใช้หนังสือเล่มใหญ่เห็นชัดเจนทั่วกัน
- ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมาย สนุกในกลุ่มย่อย และรู้จักวิธีการใช้หนังสือ
- ให้เด็กกลุ่มย่อยผลัดกันอ่าน แลกเปลี่ยนกัน ออกเสียงดัง
-ให้เด็กได้เขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้
- ครูตรวจสอบสภาพการเขียนของเด็กแต่ละคน เพื่อให้เด็กพัฒนาการเขียนได้
3. นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา)
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่
่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction)
- มัลติมีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Tele Conference)
- วีดีทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video)
- บทเรียนสำเร็จรูป (Programed Instruction)
- เครื่องช่วยสอน(Teaching Machine)
- วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV)
- ชุดการสอน (Learning Packages)
4. นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่
- การพัฒนาคลังข้อสอบ
- การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต
- การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา
- การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด
- การวัดผลแบบอิงกลุ่มและแบบอิงเกณฑ์ (Formative and Summative Evaluation)
- การประเมินผลเพื่อแก้ข้อ บกพร่อง (Diagnostic Evaluation)
- การเลื่อนชั้นโดยอัตโนมัติ (Automatic Promotion)
- การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-test)
นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเรื่องที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีเหมือนบางสถาบันการศึกษาเท่านั้นที่สามารถให้บริการได้ เนื่องจากบางสถาบันยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ที่มีความอำนวยด้านการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาอีกช่วงหนึ่งที่จะพัฒนาระบบให้เหมาะสมกับการใช้งานในสถาบัน
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหาร เช่น
- การจัดการศึกษาแบบเปิด (Open University)
- การจัดการศึกษาตามแนวมานุษยนิยม (Humanistic Education)
- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (Non-Formal Education)
- การจัดโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก (Summer Hill School)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School Within School)
- การจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
- การเกณฑ์เด็กสองกลุ่มอายุ
และจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก นอกจากนี้การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจำเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดังต่อไปนี้
1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมอย่างมีจริยธรรม
2.หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านต่างๆ
3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรียนรู้จากการสืบค้นด้วยตนเอง เป็นต้น
4.หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใช้วิธีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง
2.นวัตกรรมการเรียนการสอน
2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
การเรียนกาารสอนเรกจิโอ เอมีเลีย
การจัดการเรียนการสอนแบบเรกจิโอ เอมีเลีย
การจัดการศึกษาตามแนวคิดเรกจิโอ เอมิเลียเป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็ก ปฐมวัยที่พัฒนามาจากความเชื่อว่า การเรียนการสอนนั้นไม่ใช่การ ถ่ายโอนข้อมูลความรู้จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน การสอนในเด็กปฐมวัยจึงไม่ใช่การมองว่าเด็กเป็นแก้วที่ว่างเปล่า ที่ครูจะเทน้ำตามความต้องการของครูลงไป สู่เด็ก นักการศึกษาที่เรกจิโอ เอมีเลียเปรียบเทียบ การเรียนรู้ของเด็กและการสอนของครูเป็นการผสมผสาน ของวัตถุจากแก้วทั้งสองใบรวมกัน การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเด็กได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตน สนใจ เรียนรู้ภายใต้การจัดสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
ปรัชญาของ เรกจิโอ เอมิเลีย
มองว่าเด็กแต่ละคนเต็มไปด้วยพลังและความสามารถตั้งแต่แรกเกิด และมุ่งหวังที่จะเป็นคนเก่งและคนดี เด็กมีวิถีของการเรียนรู้เป็นไปตามระยะ ของพัฒนาการในแต่ละวัย เด็กมีความสามารถที่จะแสดงออกในทิศทางเพื่อที่จะสัมพันธ์และสื่อสารกับผู้อื่นรวมถึงสิ่งต่างๆ รอบตัว
หลักสูตร
ไม่มีการกําหนดเนื้อหาแน่นอนชัดเจน วิธีปฏิบัติคือแต่ละโรงเรียนใน Reggio Emilia จะรวบรวมรายชื่อหัวข้อโครงการที่คาดว่าจะสัมพันธ์กับความสนใจของเด็ก โครงการที่เตรียมอยู่ในมือครนั้นจะมีทั้งโครงการระยะสั้นและโครงการระยะยาว แต่ถ้าเด็กสนใจในเรื่องที่อยู่นอกเหนือรายการหัวข้อที่ครูกําหนดไว้ล่วงหน้า กิจกรรม โครงการ ในห้องเรียนก็จะปรับเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็ก สภาพการจัดกิจกรรมและประสบการณ์จะลื่นไหลไปตามสภาวการณ์ที่สนองความสนใจของเด็กในขณะนั้น เช่นหัวข้อโครงการ "สิ่งปลูกสร้าง" (building) เมื่อเสร็จสิ้นโครงการอาจปรากฏชิ้นงานของเด็กเป็นกระท่อม เสาสูง บ้านเช่าแบบห้องชุด หรืออื่นๆ ตามจินตนาการและการสร้างสรรค์จากเด็ก
วิธีการจัดการเรียนการสอน
การเรียนการสอนแบบเรกจิโอเอมีเลียเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือการสอนที่เน้นเด็กเป็นฐาน โดยเด็กเองเป็นคนคิดหัวข้อโครงการที่ต้องการเรียนด้วยตัวเอง โดยมีขั้นตอนของการจัดการเรียนการสอนดังนี้
1. ขั้นเตรียม ถึงแม้ว่าเด็กจะมีบทบาทในการเป็นผู้เลือก แต่การเตรียมส่วนหนึ่งนั้น
เป็นของครู สิ่งที่ครูเตรียมได้แก่ เตรียมสื่อและอุปกรณ์สร้างสรรค์สำหรับงานศิลปะเด็ก จัดเตรียม
หัวข้อโครงการที่คาดว่าเด็กจะสนใจทั้งระยะสั้น ระยะยาว สำหรับให้เด็กเลือกหรือไม่มีความเห็นว่าจะเรียนอะไร
2. ขั้นดำเนินการ ครูนำประเด็นให้เด็กคิดหัวข้อที่สนใจด้วยการนำเสนอปัญหาที่เด็ก
คิดแก้ไข ถามแล้วให้แนวทางซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดหัวข้อเรื่องที่จะเรียน โดยครูอาจใช้วิธีสังเกต
ความสนใจของเด็กและนำมาแนะนำหัวข้อให้กับเด็กเมื่อเห็นว่าสำคัญ หัวข้อที่เรียนอาจเป็นความ
สนใจของครูและความต้องการทางวิชาชีพที่เห็นว่าเด็กต้องเรียน ความสนใจร่วมกันระหว่างครูกับเด็กหรือบางหัวข้ออาจนำมาจากความสนใจของผู้ปกครองหรือชุมชน
3. ขั้นสอน เมื่อมีหัวข้อโครงการแล้วครูตั้งคำถามที่จะนำไปสู่การดำเนินงานตาม
ขั้นตอนการเรียนรู้คือ
- ขั้นวางแผนงานให้เด็กหาคำตอบว่า อยากรู้อะไรบ้าง จะใช้เครื่องมืออะไรในการ
สื่อความคิด และจะดำเนินการอย่างไร ระหว่างนี้ครูต้องบันทึกความเห็นของเด็ก แนวทางการ
ดำเนินการของเด็กแล้วนำไปวิเคราะห์ร่วมกัน
- ขั้นดำเนินการ เด็กออกหาคำตอบตามแผนการที่กำหนด ครูบันทึกความก้าวหน้า
ของเด็กโดยจัดทำสารนิทัศน์จากผลงานของเด็กล้วนนำมาเสนอเป็นงานเชิงศิลปะแสดง เช่น ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ภาพวาดของเด็ก สิ่งประดิษฐ์ สิ่งก่อสร้าง ภาพปั้น วัสดุที่เด็กเก็บมาศึกษาก็สามารถนำมาแสดงเป็นผลงานได้ ซึ่งในขั้นนี้ต้องส่งเสริมให้เด็กสังเกต ใช้กระบวนการคิด สร้างสรรค์แล้วสื่องานออกมาตามระดับความสามารถของเด็กเพื่อเสนอให้ผู้อื่นทราบ
- ขั้นสรุป นำเสนอเป็นนิทรรศการให้ดูไว้เพื่อให้เห็นการการทำกิจกรรมของเด็กและความก้าวหน้าของเด็ก
4. การประเมินผล จากการคิดค้นอย่างอิสระของเด็กในหัวข้อหรือโครงการที่เด็กสนใจ เด็กจะซึมซับสิ่งที่เด็กเรียนรู้จากความคิดของตนเองและเสนอออกมาเป็นงานศิลปะ แก้ปัญหาและเพิ่มสาระจากการโต้ตอบปัญหาอภิปรายกับครูไปสู่การปรับผลงานศิลปะ และบันทึกซ้ำอีกครั้งจากการได้เห็นของจริงว่าเป็นสิ่งของ ธรรมชาติ และชุมชนและปรับความรู้อีกครั้ง ผลงานศิลปะทุกชิ้นของเด็กเป็นภาพสะท้อนการเรียนรู้ที่ลุ่มลึกและประทับในจิตใจงานที่ครูสามารถนำมาประเมินได้แก่ การแสดงออกทางความคิดด้วยงานศิลปะของเด็ก ผลการเรียนรู้จากการค้นหาคำตอบของเด็ก ผลงานของเด็ก
การจัดสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งที่ยิ่งใหญ่สำหรับการมองเห็นของเด็กและเกิดความรู้สึกต่อห้องเรียนเรียกได้ว่า สิ่ง แวดล้อมในโรงเรียนเป็นครูคนที่สามของเด็ก สถานที่ในโรงเรียนเรกจิโอเอมิเลียต้องสวยงาม ครูต้องจัดบรรยากาศของห้องเรียนให้เหมาะกับการเรียน สิ่งแวดล้อมต่างๆต้องเหมาะกับการเรียน สิ่งแวดล้อมต่างๆจึงต้องสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่วยุ เชิญชวนให้เด็กได้ค้นพบสิ่งต่างๆและสามารถแก้ปัญหา มีสถานที่ที่ให้เด็กได้ทำกิจกรรมกลุ่มเล็กบ่อยๆ เพื่อฝึกการทำงานร่วมกันรวมทั้งต้องมีพื้นที่ให้เด็กแสดงผลงานและสะสมผลงานของเด็ก จึงกล่าวได้ว่าการจัดสภาพแวดล้อมภาพนอกห้องเรียนและภายในห้องเรียนที่สะท้อนถึงความพิถีพิถันของการออกแบบที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างสนุกสนาน มุมกิจกรรมแต่ละมุมโต๊ะที่จัดวางวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนท้าทายและเชิญชวนให้เด็กเข้าไปค้นหาเรียนรู้ ทำกิจกรรมตามความสนใจของเด็กได้ตลอดเวลา
บทบาทของครู
ครูเป็นผู้มีบทบาทย่างมากในการกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ด้วยการกระทำและสื่อให้ครูทราบด้วยงานศิลปะ บทบาทของครูดำเนินการมีดังนี้
1.ครูเป็นผู้อำนวยการการเรียนรู้ให้แก่เด็ก กระตุ้นให้เด็กสื่อความคิดออกมาเป็นงานศิลปะ พร้อมสนับสนุนให้จัดสิ่งแวดล้อมเป็นงานศิลปะจากผลงานของเด็ก
2.ครูคือผู้สร้างบรรยากาศของการเรียน
3.ครูเป็นผู้มีส่วนร่วมกระทำตามแนวคิดของเด็กด้วยความเชื่อที่ว่าเด็กมีศักยภาพและความสามารถสูงพอที่จะแสดงออกด้วยการกระทำด้วยตัวเอง
4.ครูคือผู้ใช้ศักยภาพความสามารถของครูในการประสานการค้นหาประสบการณ์ของเด็ก
5. ครูเป็นผู้ประเมินความคิดเห็นเด็ก ติดตาม ตั้งสมมุติฐานว่าต่อไปเด็กจะพบอะไร จะเกิดการเรียนรู้อะไร พร้อมสนับสนุนให้เด็กบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เก็บข้อมูลเด็กและเก็บผลงานเด็กเพื่อจัดสารนิทัศน์การประเมินเด็ก
6.ครูเป็นผู้จัดการเวลาและโอกาสให้เด็กในการจัดผลงาน และพร้อมที่นำผลงานเด็กมาเสนอเชิงศิลปะ
การนำไปใช้
ข้อจำกัดที่เป็นข้อสังเกตของการสอนแบบ เรกจิโอ เอมีเลีย คือ ใช้เวลาในการเรียนแต่ละเรื่องนาน ทำให้มีโอกาสเรียนได้น้อยเรื่อง ขอบเขตของการเรียนรู้แคบ สาระการเรียนรู้ได้มีเฉพาะเรื่องที่เรียนเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เด็กพัฒนาครอบคลุมทุกด้านครูควรบูรณาการความรู้ทางคณิตศาสตร์ การเขียน อ่าน ในระหว่างกระบวนการจัดกิจกรรมในโครงการด้วย
ข้อดีของการเรียนการสอนแบบ เรกจิโอ เอมิเลีย คือ การจัดกลุ่มเด็กเป็นกลุ่มเล็ก จะช่วยเด็กในการเรียนรู้สังคมเพิ่มขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สังเกตการณ์ทำงานร่วมกัน เกิดการยอมรับ สร้างความอดทน ทำให้เกิดพัฒนาการด้านสังคม นอกจากนี้การใช้งานศิลปะเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของเด็กออกมาเป็นรูปธรรมแล้ว ยังช่วยขยายความคิดของเด็กให้กว้างออกไปด้วย ทำให้เด็กรู้สักการสังเกตสิ่งต่างๆ ในแง่มิติสัมพันธ์ ฝึกสายตา การมอง การใช้กล้ามเนื้อ สร้างความรักความชอบในงานศิลปะให้กับเด็ก (กุลยา, 2545)
เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การวิจัยในชั้นเรียน ฯลฯ
3. นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา)
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่
่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction)
- มัลติมีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Tele Conference)
- วีดีทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video)
- บทเรียนสำเร็จรูป (Programed Instruction)
- เครื่องช่วยสอน(Teaching Machine)
- วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV)
- ชุดการสอน (Learning Packages)
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อการสอน ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) - มัลติมีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน (Instructional Module) - วีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Video)
4.นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
4. นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่
- การพัฒนาคลังข้อสอบ
- การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต
- การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา
- การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด
- การวัดผลแบบอิงกลุ่มและแบบอิงเกณฑ์ (Formative and Summative Evaluation)
- การประเมินผลเพื่อแก้ข้อ บกพร่อง (Diagnostic Evaluation)
- การเลื่อนชั้นโดยอัตโนมัติ (Automatic Promotion)
- การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-test)
นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเรื่องที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีเหมือนบางสถาบันการศึกษาเท่านั้นที่สามารถให้บริการได้ เนื่องจากบางสถาบันยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ที่มีความอำนวยด้านการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาอีกช่วงหนึ่งที่จะพัฒนาระบบให้เหมาะสมกับการใช้งานในสถาบัน
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่ - การพัฒนาคลังข้อสอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต - การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา - การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด - ฯลฯ
5.นวัตกรรมการบริหารจัดการ
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหาร เช่น
- การจัดการศึกษาแบบเปิด (Open University)
- การจัดการศึกษาตามแนวมานุษยนิยม (Humanistic Education)
- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (Non-Formal Education)
- การจัดโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก (Summer Hill School)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School Within School)
- การจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
- การเกณฑ์เด็กสองกลุ่มอายุ
และจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในสาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมอย่างมีจริยธรรม
2.หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านต่างๆ
3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรียนรู้จากการสืบค้นด้วยตนเอง เป็นต้น
4.หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลักสูตรในแบบเดิมที่ใช้วิธีการรวมศูนย์การพัฒนาอยู่ในส่วนกลาง
2.นวัตกรรมการเรียนการสอน
2. นวัตกรรมการเรียนการสอน
การเรียนกาารสอนเรกจิโอ เอมีเลีย
การจัดการเรียนการสอนแบบเรกจิโอ เอมีเลีย
การจัดการศึกษาตามแนวคิดเรกจิโอ เอมิเลียเป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็ก ปฐมวัยที่พัฒนามาจากความเชื่อว่า การเรียนการสอนนั้นไม่ใช่การ ถ่ายโอนข้อมูลความรู้จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน การสอนในเด็กปฐมวัยจึงไม่ใช่การมองว่าเด็กเป็นแก้วที่ว่างเปล่า ที่ครูจะเทน้ำตามความต้องการของครูลงไป สู่เด็ก นักการศึกษาที่เรกจิโอ เอมีเลียเปรียบเทียบ การเรียนรู้ของเด็กและการสอนของครูเป็นการผสมผสาน ของวัตถุจากแก้วทั้งสองใบรวมกัน การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเด็กได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตน สนใจ เรียนรู้ภายใต้การจัดสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมที่เหมาะสม กับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
ปรัชญาของ เรกจิโอ เอมิเลีย
มองว่าเด็กแต่ละคนเต็มไปด้วยพลังและความสามารถตั้งแต่แรกเกิด และมุ่งหวังที่จะเป็นคนเก่งและคนดี เด็กมีวิถีของการเรียนรู้เป็นไปตามระยะ ของพัฒนาการในแต่ละวัย เด็กมีความสามารถที่จะแสดงออกในทิศทางเพื่อที่จะสัมพันธ์และสื่อสารกับผู้อื่นรวมถึงสิ่งต่างๆ รอบตัว
หลักสูตร
ไม่มีการกําหนดเนื้อหาแน่นอนชัดเจน วิธีปฏิบัติคือแต่ละโรงเรียนใน Reggio Emilia จะรวบรวมรายชื่อหัวข้อโครงการที่คาดว่าจะสัมพันธ์กับความสนใจของเด็ก โครงการที่เตรียมอยู่ในมือครนั้นจะมีทั้งโครงการระยะสั้นและโครงการระยะยาว แต่ถ้าเด็กสนใจในเรื่องที่อยู่นอกเหนือรายการหัวข้อที่ครูกําหนดไว้ล่วงหน้า กิจกรรม โครงการ ในห้องเรียนก็จะปรับเปลี่ยนไปตามความสนใจของเด็ก สภาพการจัดกิจกรรมและประสบการณ์จะลื่นไหลไปตามสภาวการณ์ที่สนองความสนใจของเด็กในขณะนั้น เช่นหัวข้อโครงการ "สิ่งปลูกสร้าง" (building) เมื่อเสร็จสิ้นโครงการอาจปรากฏชิ้นงานของเด็กเป็นกระท่อม เสาสูง บ้านเช่าแบบห้องชุด หรืออื่นๆ ตามจินตนาการและการสร้างสรรค์จากเด็ก
วิธีการจัดการเรียนการสอน
การเรียนการสอนแบบเรกจิโอเอมีเลียเป็นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือการสอนที่เน้นเด็กเป็นฐาน โดยเด็กเองเป็นคนคิดหัวข้อโครงการที่ต้องการเรียนด้วยตัวเอง โดยมีขั้นตอนของการจัดการเรียนการสอนดังนี้
1. ขั้นเตรียม ถึงแม้ว่าเด็กจะมีบทบาทในการเป็นผู้เลือก แต่การเตรียมส่วนหนึ่งนั้น
เป็นของครู สิ่งที่ครูเตรียมได้แก่ เตรียมสื่อและอุปกรณ์สร้างสรรค์สำหรับงานศิลปะเด็ก จัดเตรียม
หัวข้อโครงการที่คาดว่าเด็กจะสนใจทั้งระยะสั้น ระยะยาว สำหรับให้เด็กเลือกหรือไม่มีความเห็นว่าจะเรียนอะไร
2. ขั้นดำเนินการ ครูนำประเด็นให้เด็กคิดหัวข้อที่สนใจด้วยการนำเสนอปัญหาที่เด็ก
คิดแก้ไข ถามแล้วให้แนวทางซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดหัวข้อเรื่องที่จะเรียน โดยครูอาจใช้วิธีสังเกต
ความสนใจของเด็กและนำมาแนะนำหัวข้อให้กับเด็กเมื่อเห็นว่าสำคัญ หัวข้อที่เรียนอาจเป็นความ
สนใจของครูและความต้องการทางวิชาชีพที่เห็นว่าเด็กต้องเรียน ความสนใจร่วมกันระหว่างครูกับเด็กหรือบางหัวข้ออาจนำมาจากความสนใจของผู้ปกครองหรือชุมชน
3. ขั้นสอน เมื่อมีหัวข้อโครงการแล้วครูตั้งคำถามที่จะนำไปสู่การดำเนินงานตาม
ขั้นตอนการเรียนรู้คือ
- ขั้นวางแผนงานให้เด็กหาคำตอบว่า อยากรู้อะไรบ้าง จะใช้เครื่องมืออะไรในการ
สื่อความคิด และจะดำเนินการอย่างไร ระหว่างนี้ครูต้องบันทึกความเห็นของเด็ก แนวทางการ
ดำเนินการของเด็กแล้วนำไปวิเคราะห์ร่วมกัน
- ขั้นดำเนินการ เด็กออกหาคำตอบตามแผนการที่กำหนด ครูบันทึกความก้าวหน้า
ของเด็กโดยจัดทำสารนิทัศน์จากผลงานของเด็กล้วนนำมาเสนอเป็นงานเชิงศิลปะแสดง เช่น ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ภาพวาดของเด็ก สิ่งประดิษฐ์ สิ่งก่อสร้าง ภาพปั้น วัสดุที่เด็กเก็บมาศึกษาก็สามารถนำมาแสดงเป็นผลงานได้ ซึ่งในขั้นนี้ต้องส่งเสริมให้เด็กสังเกต ใช้กระบวนการคิด สร้างสรรค์แล้วสื่องานออกมาตามระดับความสามารถของเด็กเพื่อเสนอให้ผู้อื่นทราบ
- ขั้นสรุป นำเสนอเป็นนิทรรศการให้ดูไว้เพื่อให้เห็นการการทำกิจกรรมของเด็กและความก้าวหน้าของเด็ก
4. การประเมินผล จากการคิดค้นอย่างอิสระของเด็กในหัวข้อหรือโครงการที่เด็กสนใจ เด็กจะซึมซับสิ่งที่เด็กเรียนรู้จากความคิดของตนเองและเสนอออกมาเป็นงานศิลปะ แก้ปัญหาและเพิ่มสาระจากการโต้ตอบปัญหาอภิปรายกับครูไปสู่การปรับผลงานศิลปะ และบันทึกซ้ำอีกครั้งจากการได้เห็นของจริงว่าเป็นสิ่งของ ธรรมชาติ และชุมชนและปรับความรู้อีกครั้ง ผลงานศิลปะทุกชิ้นของเด็กเป็นภาพสะท้อนการเรียนรู้ที่ลุ่มลึกและประทับในจิตใจงานที่ครูสามารถนำมาประเมินได้แก่ การแสดงออกทางความคิดด้วยงานศิลปะของเด็ก ผลการเรียนรู้จากการค้นหาคำตอบของเด็ก ผลงานของเด็ก
การจัดสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งที่ยิ่งใหญ่สำหรับการมองเห็นของเด็กและเกิดความรู้สึกต่อห้องเรียนเรียกได้ว่า สิ่ง แวดล้อมในโรงเรียนเป็นครูคนที่สามของเด็ก สถานที่ในโรงเรียนเรกจิโอเอมิเลียต้องสวยงาม ครูต้องจัดบรรยากาศของห้องเรียนให้เหมาะกับการเรียน สิ่งแวดล้อมต่างๆต้องเหมาะกับการเรียน สิ่งแวดล้อมต่างๆจึงต้องสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่วยุ เชิญชวนให้เด็กได้ค้นพบสิ่งต่างๆและสามารถแก้ปัญหา มีสถานที่ที่ให้เด็กได้ทำกิจกรรมกลุ่มเล็กบ่อยๆ เพื่อฝึกการทำงานร่วมกันรวมทั้งต้องมีพื้นที่ให้เด็กแสดงผลงานและสะสมผลงานของเด็ก จึงกล่าวได้ว่าการจัดสภาพแวดล้อมภาพนอกห้องเรียนและภายในห้องเรียนที่สะท้อนถึงความพิถีพิถันของการออกแบบที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างสนุกสนาน มุมกิจกรรมแต่ละมุมโต๊ะที่จัดวางวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนท้าทายและเชิญชวนให้เด็กเข้าไปค้นหาเรียนรู้ ทำกิจกรรมตามความสนใจของเด็กได้ตลอดเวลา
บทบาทของครู
ครูเป็นผู้มีบทบาทย่างมากในการกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ด้วยการกระทำและสื่อให้ครูทราบด้วยงานศิลปะ บทบาทของครูดำเนินการมีดังนี้
1.ครูเป็นผู้อำนวยการการเรียนรู้ให้แก่เด็ก กระตุ้นให้เด็กสื่อความคิดออกมาเป็นงานศิลปะ พร้อมสนับสนุนให้จัดสิ่งแวดล้อมเป็นงานศิลปะจากผลงานของเด็ก
2.ครูคือผู้สร้างบรรยากาศของการเรียน
3.ครูเป็นผู้มีส่วนร่วมกระทำตามแนวคิดของเด็กด้วยความเชื่อที่ว่าเด็กมีศักยภาพและความสามารถสูงพอที่จะแสดงออกด้วยการกระทำด้วยตัวเอง
4.ครูคือผู้ใช้ศักยภาพความสามารถของครูในการประสานการค้นหาประสบการณ์ของเด็ก
5. ครูเป็นผู้ประเมินความคิดเห็นเด็ก ติดตาม ตั้งสมมุติฐานว่าต่อไปเด็กจะพบอะไร จะเกิดการเรียนรู้อะไร พร้อมสนับสนุนให้เด็กบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ เก็บข้อมูลเด็กและเก็บผลงานเด็กเพื่อจัดสารนิทัศน์การประเมินเด็ก
6.ครูเป็นผู้จัดการเวลาและโอกาสให้เด็กในการจัดผลงาน และพร้อมที่นำผลงานเด็กมาเสนอเชิงศิลปะ
การนำไปใช้
ข้อจำกัดที่เป็นข้อสังเกตของการสอนแบบ เรกจิโอ เอมีเลีย คือ ใช้เวลาในการเรียนแต่ละเรื่องนาน ทำให้มีโอกาสเรียนได้น้อยเรื่อง ขอบเขตของการเรียนรู้แคบ สาระการเรียนรู้ได้มีเฉพาะเรื่องที่เรียนเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เด็กพัฒนาครอบคลุมทุกด้านครูควรบูรณาการความรู้ทางคณิตศาสตร์ การเขียน อ่าน ในระหว่างกระบวนการจัดกิจกรรมในโครงการด้วย
ข้อดีของการเรียนการสอนแบบ เรกจิโอ เอมิเลีย คือ การจัดกลุ่มเด็กเป็นกลุ่มเล็ก จะช่วยเด็กในการเรียนรู้สังคมเพิ่มขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สังเกตการณ์ทำงานร่วมกัน เกิดการยอมรับ สร้างความอดทน ทำให้เกิดพัฒนาการด้านสังคม นอกจากนี้การใช้งานศิลปะเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของเด็กออกมาเป็นรูปธรรมแล้ว ยังช่วยขยายความคิดของเด็กให้กว้างออกไปด้วย ทำให้เด็กรู้สักการสังเกตสิ่งต่างๆ ในแง่มิติสัมพันธ์ ฝึกสายตา การมอง การใช้กล้ามเนื้อ สร้างความรักความชอบในงานศิลปะให้กับเด็ก (กุลยา, 2545)
เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การวิจัยในชั้นเรียน ฯลฯ
3. นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา)
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่
่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction)
- มัลติมีเดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Tele Conference)
- วีดีทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video)
- บทเรียนสำเร็จรูป (Programed Instruction)
- เครื่องช่วยสอน(Teaching Machine)
- วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV)
- ชุดการสอน (Learning Packages)
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อที่ใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อการสอน ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) - มัลติมีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน (Instructional Module) - วีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Video)
4.นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
4. นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่
- การพัฒนาคลังข้อสอบ
- การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต
- การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา
- การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด
- การวัดผลแบบอิงกลุ่มและแบบอิงเกณฑ์ (Formative and Summative Evaluation)
- การประเมินผลเพื่อแก้ข้อ บกพร่อง (Diagnostic Evaluation)
- การเลื่อนชั้นโดยอัตโนมัติ (Automatic Promotion)
- การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-test)
นวัตกรรมทางด้านการประเมินผลนับเป็นเรื่องที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีเหมือนบางสถาบันการศึกษาเท่านั้นที่สามารถให้บริการได้ เนื่องจากบางสถาบันยังไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และขาดบุคลากร ที่มีความอำนวยด้านการออกแบบระบบและการพัฒนาเครือข่าย ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลาอีกช่วงหนึ่งที่จะพัฒนาระบบให้เหมาะสมกับการใช้งานในสถาบัน
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล ได้แก่ - การพัฒนาคลังข้อสอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต - การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา - การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด - ฯลฯ
5.นวัตกรรมการบริหารจัดการ
5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหาร เช่น
- การจัดการศึกษาแบบเปิด (Open University)
- การจัดการศึกษาตามแนวมานุษยนิยม (Humanistic Education)
- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียน (Non-Formal Education)
- การจัดโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก (Summer Hill School)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School Within School)
- การจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School)
- การเกณฑ์เด็กสองกลุ่มอายุ
และจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอซึ่งผู้บริหารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทำเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เข้ามาอ่านแล้วค่ะ
ตอบลบได้เนื้อหาที่ตรงดีค่ะ
ตอบลบ