ความหมายนวัตกรรมการศึกษา
"นวัตกรรมการศึกษา" การนำสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรือการกระทำ หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น ทั้งในส่วนที่ไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งที่มีอยู่แต่เดิม ให้ดีขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้นำมาดำเนินการหรือสนับสนุน ส่งผลให้การเรียนรู้ มีประสิทธิภาพสูงสุด
“นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขึ้นมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนำไปปฎิบัติให้เกิดผลได้จริงอีกด้วย (พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ , Xaap.com) คำว่า “นวัตกรรม” เป็นคำที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ เป็นศัพท์บัญญัติของคณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำกริยาว่า innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คำว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคำนี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คำว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กำ) หมายถึงการนำสิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือกิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนำเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”(Educational Innovation) สำหรับผู้ที่กระทำ หรือนำความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น “นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เริ่มตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนำไปปฏิบัติจริง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา (boonpan edt01.htm) มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซึ่งหมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา (boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมและสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษเอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสำเร็จหรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทำอยู่เดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยู่ต่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คำว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งที่ได้นำความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสำเร็จและแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543) นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ i ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กำลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm) “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้เป็นต้น
ความสำคัญของนวัตกรรม(ทาง)การศึกษา (Educational Innovation )
นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตาม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหา ลดช่องว่าง ช่องทางการเข้าถึง ในการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพและผุ้เรียนมีความเสมอภาค ในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เท่าเทียมกัน ซึ่งนวัตกรรมการศึกษา ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการศึกษาในหลากหลายด้าน อาทิ จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
กล่าวโดยสรุป นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้
1) ผู้เรียนในการศึกษาภาคบังคับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนในแต่ละห้องเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาสามารถ สอนนักเรียนได้มากขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง
2) สาระเนื้อหาที่เปิดกว้างมากกว่าในชั้นเรียน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ที่ไว รวดเร็วขึ้น ชัดเจนมากขึ้น มีมุมมองที่หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้น
3) ผู้เรียนมีอิสระในการเข้าถึงและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งผุ้เรียนสามารถเข้าถึงมวลความรู้ได้เองผ่านทางอินเทอรืเน็ต หรือสื่อ CD-Rom ประเภทต่างๆ
4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้ผุ้เรียนมีการใช้นวัตกรรมต่างๆมากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทั้งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ส่งผลให้ราคาอุปกรณ์ถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำให้มีความสามารถเข้าถึงช่องทางแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น สาระเนื้อหาที่มีอยู่บนเครือข่ายตอบสนองความเป็นมัลติมีเดียที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทำให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นอีกช่องทางของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอีกช่องทางหนึ่ง ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ ในทุกที่ ทุกเวลา สำหรับทุกคน (Any where, Any time for Everyone )้ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา ในปัจจุบันเป็นนี้ไปอย่างกว้างขวาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นทั้งตัวสื่อกลางในการเรียนรู้ ในการเข้าถึงองค์ความรู้ เป็นทั้งเครื่องมือสำคัญของครูในการสร้างสื่อ การเรียนการสอน นำทางไปสู่การจัดการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ
ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หรือ “นวกรรม” มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่า “นวัตกรรม” มาจากภาษาบาลีคือ นว + อตต + กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทำ เมื่อรวมคำ นว มาสนธิกับ อัตต จึงเป็น นวัตต และเมื่อรวมคำ นวัตต มาสมาสกับ กรรม จึงเป็นคำว่า นวัตกรรม แปลว่า การกระทำที่ใหม่ของตนเองหรือ การกระทำของตนเองที่ใหม่ (เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, 2528) ส่วนคำว่า "นวกรรม" ที่มีใช้กันมา แต่เดิม มีรากศัพท์มาจากคำว่า นว แปลว่า ใหม่ กรรม แปลว่า การกระทำ จึงแปลว่า การปฏิบัติหรือการกระทำใหม่ๆ ในความหมายโดยทั่วไปแล้ว สิ่งใหม่ๆ อาจหมายถึง ความคิด วิธีปฏิบัติ วัตถุหรือสิ่งของที่ใหม่ ซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักมาก่อน คำว่า “นวกรรม” หรือ “นวัตกรรม” ความจริงแล้ว ก็เป็นคำ ๆ เดียวกันนั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ อีก ดังคำจำกัดความต่อไปนี้ Hughes (1971) ให้ความหมายว่า นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติ หลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาแล้ว โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นการคิดค้น (Invention) 2. ขั้นการพัฒนา (Development) 3. ขั้นนำไปปฏิบัติจริง ซึ่งทำให้เกิดความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิม ๆ ที่เคยปฏิบัติ Everette M. Rogers (1983) ให้ความหมายของคำว่า นวัตกรรม (Innovation) ไว้ดังนี้ นวัตกรรม คือ ความคิด การกระทำหรือวัตถุใหม่ ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคล แต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการยอมรับในสังคม
ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป
1. นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสำเร็จหรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทำอยู่เดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยู่ต่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คำว่า 2. นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งที่ได้นำความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสำเร็จและแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543)
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ i ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กำลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm) “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้เป็นต้น ความสำคัญของนวัตกรรม(ทาง)การศึกษา (Educational Innovation ) นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตาม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหา ลดช่องว่าง ช่องทางการเข้าถึง ในการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพและผุ้เรียนมีความเสมอภาค ในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เท่าเทียมกัน ซึ่งนวัตกรรมการศึกษา ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการศึกษาในหลากหลายด้าน อาทิ จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป
นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้
1) ผู้เรียนในการศึกษาภาคบังคับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนในแต่ละห้องเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาสามารถ สอนนักเรียนได้มากขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง
2) สาระเนื้อหาที่เปิดกว้างมากกว่าในชั้นเรียน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ที่ไว รวดเร็วขึ้น ชัดเจนมากขึ้น มีมุมมองที่หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้น
3) ผู้เรียนมีอิสระในการเข้าถึงและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งผุ้เรียนสามารถเข้าถึงมวลความรู้ได้เองผ่านทางอินเทอรืเน็ต หรือสื่อ CD-Rom ประเภทต่างๆ
4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้ผุ้เรียนมีการใช้นวัตกรรมต่างๆมากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทั้งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ส่งผลให้ราคาอุปกรณ์ถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำให้มีความสามารถเข้าถึงช่องทางแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น สาระเนื้อหาที่มีอยู่บนเครือข่ายตอบสนองความเป็นมัลติมีเดียที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทำให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นอีกช่องทางของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอีกช่องทางหนึ่ง ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ ในทุกที่ ทุกเวลา สำหรับทุกคน (Any where, Any time for Everyone )้ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา ในปัจจุบันเป็นนี้ไปอย่างกว้างขวาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นทั้งตัวสื่อกลางในการเรียนรู้ ในการเข้าถึงองค์ความรู้ เป็นทั้งเครื่องมือสำคัญของครูในการสร้างสื่อ การเรียนการสอน นำทางไปสู่การจัดการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หรือ “นวกรรม” มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่า “นวัตกรรม” มาจากภาษาบาลีคือ นว + อตต + กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทำ เมื่อรวมคำ นว มาสนธิกับ อัตต จึงเป็น นวัตต และเมื่อรวมคำ นวัตต มาสมาสกับ กรรม จึงเป็นคำว่า นวัตกรรม แปลว่า การกระทำที่ใหม่ของตนเองหรือ การกระทำของตนเองที่ใหม่ (เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, 2528) ส่วนคำว่า "นวกรรม" ที่มีใช้กันมา แต่เดิม มีรากศัพท์มาจากคำว่า นว แปลว่า ใหม่ กรรม แปลว่า การกระทำ จึงแปลว่า การปฏิบัติหรือการกระทำใหม่ๆ ในความหมายโดยทั่วไปแล้ว สิ่งใหม่ๆ อาจหมายถึง ความคิด วิธีปฏิบัติ วัตถุหรือสิ่งของที่ใหม่ ซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักมาก่อน คำว่า “นวกรรม” หรือ “นวัตกรรม” ความจริงแล้ว ก็เป็นคำ ๆ เดียวกันนั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ อีก ดังคำจำกัดความต่อไปนี้ Hughes (1971) ให้ความหมายว่า นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติ หลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาแล้ว โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นการคิดค้น (Invention)
2. ขั้นการพัฒนา (Development)
3. ขั้นนำไปปฏิบัติจริง ซึ่งทำให้เกิดความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิม ๆ ที่เคยปฏิบัติ Everette M. Rogers (1983) ให้ความหมายของคำว่า นวัตกรรม (Innovation) ไว้ดังนี้ นวัตกรรม คือ ความคิด การกระทำหรือวัตถุใหม่ ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคล แต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการยอมรับในสังคม ความสำคัญของนวัตกรรม(ทาง)การศึกษา (Educational Innovation ) นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตาม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหา ลดช่องว่าง ช่องทางการเข้าถึง ในการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพและผุ้เรียนมีความเสมอภาค ในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เท่าเทียมกัน ซึ่งนวัตกรรมการศึกษา ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการศึกษาในหลากหลายด้าน อาทิ จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้เรียนในการศึกษาภาคบังคับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนในแต่ละห้องเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาสามารถ สอนนักเรียนได้มากขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง 2) สาระเนื้อหาที่เปิดกว้างมากกว่าในชั้นเรียน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ที่ไว รวดเร็วขึ้น ชัดเจนมากขึ้น มีมุมมองที่หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้น 3) ผู้เรียนมีอิสระในการเข้าถึงและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งผุ้เรียนสามารถเข้าถึงมวลความรู้ได้เองผ่านทางอินเทอรืเน็ต หรือสื่อ CD-Rom ประเภทต่างๆ 4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้ผุ้เรียนมีการใช้นวัตกรรมต่างๆมากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทั้งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ส่งผลให้ราคาอุปกรณ์ถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำให้มีความสามารถเข้าถึงช่องทางแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น สาระเนื้อหาที่มีอยู่บนเครือข่ายตอบสนองความเป็นมัลติมีเดียที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทำให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นอีกช่องทางของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอีกช่องทางหนึ่ง ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ ในทุกที่ ทุกเวลา สำหรับทุกคน (Any where, Any time for Everyone )้ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา ในปัจจุบันเป็นนี้ไปอย่างกว้างขวาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นทั้งตัวสื่อกลางในการเรียนรู้ ในการเข้าถึงองค์ความรู้ เป็นทั้งเครื่องมือสำคัญของครูในการสร้างสื่อ การเรียนการสอน นำทางไปสู่การจัดการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ
ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป
1. นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสำเร็จหรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทำอยู่เดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่งซึ่งวงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยู่ต่อกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คำว่า 2. นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งที่ได้นำความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสำเร็จและแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543)
นวัตกรรม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ i ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กำลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm) “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่อหลายมิติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้เป็นต้น ความสำคัญของนวัตกรรม(ทาง)การศึกษา (Educational Innovation ) นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตาม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหา ลดช่องว่าง ช่องทางการเข้าถึง ในการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพและผุ้เรียนมีความเสมอภาค ในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เท่าเทียมกัน ซึ่งนวัตกรรมการศึกษา ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการศึกษาในหลากหลายด้าน อาทิ จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป
นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้
1) ผู้เรียนในการศึกษาภาคบังคับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนในแต่ละห้องเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาสามารถ สอนนักเรียนได้มากขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง
2) สาระเนื้อหาที่เปิดกว้างมากกว่าในชั้นเรียน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ที่ไว รวดเร็วขึ้น ชัดเจนมากขึ้น มีมุมมองที่หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้น
3) ผู้เรียนมีอิสระในการเข้าถึงและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งผุ้เรียนสามารถเข้าถึงมวลความรู้ได้เองผ่านทางอินเทอรืเน็ต หรือสื่อ CD-Rom ประเภทต่างๆ
4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้ผุ้เรียนมีการใช้นวัตกรรมต่างๆมากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทั้งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ส่งผลให้ราคาอุปกรณ์ถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำให้มีความสามารถเข้าถึงช่องทางแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น สาระเนื้อหาที่มีอยู่บนเครือข่ายตอบสนองความเป็นมัลติมีเดียที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทำให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นอีกช่องทางของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอีกช่องทางหนึ่ง ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ ในทุกที่ ทุกเวลา สำหรับทุกคน (Any where, Any time for Everyone )้ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา ในปัจจุบันเป็นนี้ไปอย่างกว้างขวาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นทั้งตัวสื่อกลางในการเรียนรู้ ในการเข้าถึงองค์ความรู้ เป็นทั้งเครื่องมือสำคัญของครูในการสร้างสื่อ การเรียนการสอน นำทางไปสู่การจัดการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หรือ “นวกรรม” มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่า “นวัตกรรม” มาจากภาษาบาลีคือ นว + อตต + กรรม กล่าวคือ นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระทำ เมื่อรวมคำ นว มาสนธิกับ อัตต จึงเป็น นวัตต และเมื่อรวมคำ นวัตต มาสมาสกับ กรรม จึงเป็นคำว่า นวัตกรรม แปลว่า การกระทำที่ใหม่ของตนเองหรือ การกระทำของตนเองที่ใหม่ (เสาวณีย์ สิกขาบัณฑิต, 2528) ส่วนคำว่า "นวกรรม" ที่มีใช้กันมา แต่เดิม มีรากศัพท์มาจากคำว่า นว แปลว่า ใหม่ กรรม แปลว่า การกระทำ จึงแปลว่า การปฏิบัติหรือการกระทำใหม่ๆ ในความหมายโดยทั่วไปแล้ว สิ่งใหม่ๆ อาจหมายถึง ความคิด วิธีปฏิบัติ วัตถุหรือสิ่งของที่ใหม่ ซึ่งยังไม่เป็นที่รู้จักมาก่อน คำว่า “นวกรรม” หรือ “นวัตกรรม” ความจริงแล้ว ก็เป็นคำ ๆ เดียวกันนั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ อีก ดังคำจำกัดความต่อไปนี้ Hughes (1971) ให้ความหมายว่า นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติ หลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาแล้ว โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นการคิดค้น (Invention)
2. ขั้นการพัฒนา (Development)
3. ขั้นนำไปปฏิบัติจริง ซึ่งทำให้เกิดความแตกต่างจากการปฏิบัติเดิม ๆ ที่เคยปฏิบัติ Everette M. Rogers (1983) ให้ความหมายของคำว่า นวัตกรรม (Innovation) ไว้ดังนี้ นวัตกรรม คือ ความคิด การกระทำหรือวัตถุใหม่ ๆ ซึ่งถูกรับรู้ว่าเป็นสิ่งใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคล แต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการยอมรับในสังคม ความสำคัญของนวัตกรรม(ทาง)การศึกษา (Educational Innovation ) นวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยี ในด้านต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้กระบวนการศึกษาเรียนรู้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตาม เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหา ลดช่องว่าง ช่องทางการเข้าถึง ในการเรียนรู้ ส่งผลให้การศึกษาในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพและผุ้เรียนมีความเสมอภาค ในการเข้าถึงองค์ความรู้ที่เท่าเทียมกัน ซึ่งนวัตกรรมการศึกษา ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการจัดการศึกษาในหลากหลายด้าน อาทิ จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง กล่าวโดยสรุป นวัตกรรมการศึกษาเกิดขึ้นตามสาเหตุใหม่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้เรียนในการศึกษาภาคบังคับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามีมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนในแต่ละห้องเรียนมีจำนวนเพิ่มขึ้น นวัตกรรมทางการศึกษาสามารถ สอนนักเรียนได้มากขึ้นโดยใช้เวลาที่น้อยลง 2) สาระเนื้อหาที่เปิดกว้างมากกว่าในชั้นเรียน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ที่ไว รวดเร็วขึ้น ชัดเจนมากขึ้น มีมุมมองที่หลากหลายและกว้างขวางมากขึ้น 3) ผู้เรียนมีอิสระในการเข้าถึงและเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งผุ้เรียนสามารถเข้าถึงมวลความรู้ได้เองผ่านทางอินเทอรืเน็ต หรือสื่อ CD-Rom ประเภทต่างๆ 4) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้ผุ้เรียนมีการใช้นวัตกรรมต่างๆมากยิ่งขึ้น จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทั้งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ส่งผลให้ราคาอุปกรณ์ถูกลง ประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำให้มีความสามารถเข้าถึงช่องทางแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น สาระเนื้อหาที่มีอยู่บนเครือข่ายตอบสนองความเป็นมัลติมีเดียที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทำให้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นอีกช่องทางของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดอีกช่องทางหนึ่ง ทำให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ ในทุกที่ ทุกเวลา สำหรับทุกคน (Any where, Any time for Everyone )้ การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา ในปัจจุบันเป็นนี้ไปอย่างกว้างขวาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นทั้งตัวสื่อกลางในการเรียนรู้ ในการเข้าถึงองค์ความรู้ เป็นทั้งเครื่องมือสำคัญของครูในการสร้างสื่อ การเรียนการสอน นำทางไปสู่การจัดการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น